วันอาทิตย์ที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

จุดที่สัมผัสลูกบอล


๑ ก

๑ ข

๑ ค
บริเวณที่ถูกลูกบอลคือ บริเวณท่อนแขนด้านหน้า ทั้งสองแขนพร้อม ๆ กัน ตั้งแต่เหนือข้อมือขึ้น
มาประมาณ ๑๐ ซม. ดังรูปที่ ๑ ก - ๑ ข - ๑ ค




 ก

 ข

 ค
บริเวณที่ถูกลูกบอลคือ บริเวณท่อนแขนด้านหน้า ทั้งสองแขนพร้อม ๆ กัน ตั้งแต่เหนือข้อมือขึ้น
มาประมาณ ๑๐ ซม. ดังรูปที่ ๒ ก -  ข -  ค
๓. การออกแรงเล่นลูกด้วยมือล่าง
ในกรณีที่ลูกบอลที่พุ่งมาไม่แรง การอันเดอร์ลูกต้องเพิ่มแรงยกของแขนขึ้น เพื่อให้เกิดแรงกระทบลูก
และเมื่อลูกบอลพุ่งมาแรงมากให้ออกแรงส่งเพียงเล็กน้อยโดยอาศัยแรงกระดอนจากลูกช่วยในการส่ง
ลูกบอลการที่จะใช้แรงมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับระยะทางความเร็ว ความแรงของลูกบอลด้วย
ดังรูปที่ ๓.๑ – ๓.๓
                                              
                                               
รูปที่ ๓.๑
รูปที่ ๓.๒
รูปที่ ๓.๓



๑.๑ ยืนเท้าใดเท้าหนึ่งอยู่ข้างหน้าห่างกัน
      ประมาณ ๑ ช่วงไหล่

๑.๒ ย่อเข่าลงให้หัวเข่าเลยปลายเท้าเล็กน้อย
      ก้มลำตัวให้หัวไหล่อยู่ในแนวระดับของเข่า

๑.๓ ยกส้นเท้าขึ้นเล็กน้อย น้ำหนักตัวอยู่ที่ปลายเท้า
      ทั้งสองข้าง ตรงบริเวณโคนหัวแม่เท้า ใต้ฝ่าเท้า

๑.๔ จับมือในท่าที่ถูกต้อง แขนทั้งสองเหยียดตึง
      ตามองที่ลูกบอล




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น